มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร จังหวัดยโสธร

การรับสมัคร รอบที่ 2 Quota

หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย (4ปี)

เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 16 ม.ค. 2568

คุณสมบัติ/เงื่อนไขการรับ

คะแนน GPAX ต่ำสุด 2.00

1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า หรือเป็นผู้สอบได้เปรียญธรรม ๕ ประโยค 2. สามารถพูด อ่าน เขียนภาษาไทยได้ 3.ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา 4. ไม่เป็นผู้วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ


รายละเอียดการรับ

รายละเอียดของหลักสูตร หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย (4 ปี) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาวิชาการศึกษา หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อหลักสูตร รหัสหลักสูตร : 25451861101648 ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย (4 ปี) ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Teaching Thai 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ภาษาไทย ชื่อเต็ม : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การสอนภาษาไทย) ชื่อย่อ : ศษ.บ. (การสอนภาษาไทย) ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Bachelor of Education (Teaching Thai) ชื่อย่อ : B.Ed. (Teaching Thai) 3. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 143 หน่วยกิต 4. รูปแบบของหลักสูตร 4.1 รูปแบบ  หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ หลักสูตร 4 ปี 4.2 ภาษาที่ใช้  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย 4.3 การรับนักศึกษา  รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ 4.4 ความร่วมมือกับหน่วยงาน/สถาบันอื่น  เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ 4.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา  ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 5. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร  หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566 กำหนดเปิดสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2566 6. สถานที่จัดการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร เลขที่ 174 หมู่ที่ 3 ถนนวารีราชเดช ตำบลในเมือง อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร รหัสไปรษณีย์ 35000 หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถจัดการศึกษาด้านภาษาไทยได้อย่างมีคุณภาพ โดยบูรณาการความรู้ทางด้าน พระพุทธศาสนาและมีทักษะการถ่ายทอดความรู้ การค้นคว้าวิจัย เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ ภาษาไทยโดยใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีที่สอดคล้องกับผู้เรียน สภาพสังคม วัฒนธรรมและวิถีการ เปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 พร้อมทั้งยึดมั่นในจรรยาบรรณวิชาชีพครู และมีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อสร้างสรรค์และพัฒนาสังคม


ข้อมูลหลักสูตร

รายละเอียดของหลักสูตร

หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย (4 ปี)

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา    มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย คณะศึกษาศาสตร์

                              ภาควิชาวิชาการศึกษา

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1.  รหัสและชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร               : 25451861101648

ภาษาไทย                  : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาการสอนภาษาไทย (4 ปี)

ภาษาอังกฤษ               : Bachelor of Education Program in Teaching Thai

2.  ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ภาษาไทย                  ชื่อเต็ม  : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การสอนภาษาไทย)

                              ชื่อย่อ   : ศษ.บ. (การสอนภาษาไทย)

ภาษาอังกฤษ               ชื่อเต็ม  : Bachelor of Education (Teaching Thai)

                              ชื่อย่อ   : B.Ed. (Teaching Thai)

3. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

143 หน่วยกิต

4. รูปแบบของหลักสูตร

4.1 รูปแบบ

þ หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ หลักสูตร 4 ปี

4.2 ภาษาที่ใช้

þ หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย

4.3 การรับนักศึกษา

þ รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ

4.4 ความร่วมมือกับหน่วยงาน/สถาบันอื่น

þ เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ

4.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา

            þ ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

5. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร

þ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566 กำหนดเปิดสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2566

6. สถานที่จัดการเรียนการสอน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร

เลขที่ 174 หมู่ที่ 3 ถนนวารีราชเดช  ตำบลในเมือง อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร

รหัสไปรษณีย์ 35000หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถจัดการศึกษาด้านภาษาไทยได้อย่างมีคุณภาพ โดยบูรณาการความรู้ทางด้าน พระพุทธศาสนาและมีทักษะการถ่ายทอดความรู้ การค้นคว้าวิจัย เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ ภาษาไทยโดยใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีที่สอดคล้องกับผู้เรียน สภาพสังคม วัฒนธรรมและวิถีการ เปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 พร้อมทั้งยึดมั่นในจรรยาบรรณวิชาชีพครู และมีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อสร้างสรรค์และพัฒนาสังคม

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. ครูสอนภาษาไทยในสถานบันการศึกษาของภาครัฐ และเอกชน

2. อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของภาครัฐ และเอกชน

3. นักวิจัยทางด้านการศึกษาภาษาและการสอนภาษาไทย

4. ผู้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนา และบริการทางการศึกษา

5. นักวิชาการทางด้านหลักสูตร และเทคนิควิทยาการสอน

6. นักวิชาชีพทางการศึกษาทั้งใน และนอกสถานศึกษา

7. นักวิชาการ และนักวิจัย

8. ประกอบอาชีพอิสระ