มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง ศาลายา นครปฐม

การรับสมัคร รอบที่ 4 Direct Admission

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา

เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 14 พ.ค. 2568

คุณสมบัติ/เงื่อนไขการรับ

คะแนน GPAX ต่ำสุด 2.00

คุณสมบัติผู้สมัคร 1. สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า 2. ชาวต่างชาติที่สามารถอ่านและเขียนภาษาไทยได้ เอกสารประกอบการสมัคร 1. สำเนาประกาศนียบัตรเปรียญธรรม (ป.ธ.3) 2. สำเนาผลการเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3. สำเนาบัตรประชาชน 4. สำเนาทะเบียนบ้าน 5. สำเนาการเปลี่ยน ชื่อ-สกุล ถ้ามี 6. รูปถ่ายหน้าตรง ขนาด 1.5 นิ้ว จำนวน 3 รูป (ถ่ายมาแล้วไม่เกิน 6 เดือน) 7. ใบรับรองแพทย์ (ออกมาแล้วไม่เกิน 6 เดือน)


รายละเอียดการรับ

ข้อมูลหลักสูตร 1. ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Buddhist Studies for Development 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา) ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา) ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (Buddhist Studies for Development) ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Buddhist Studies for Development) 3. วิชาเอกเดี่ยว พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา 4. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 123 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี 5.2 ประเภทของหลักสูตร หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ 5.2 ภาษาที่ใช้ จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย 5.3 การรับเข้าศึกษา นักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่มีทักษะในการใช้ภาษาไทยได้ 5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง 5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว ________________________________________ จุดเด่น • หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา เป็นหลักสูตรที่มี่งผลิตบัณฑิตให้รอบรู้พุทธศาสตร์ พัฒนาชาติและสังคม บ่มเพาะวัฒนธรรม น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจ พัฒนาชีวิตแบบพอเพียง สร้างสรรค์นวัตกรรมวิชาการ ทำงานอย่างมีความสุข มั่นคงและยั่งยืน ________________________________________ โอกาสในการประกอบอาชีพ • พระธรรมทูต/พระสังฆาธิการ/อนุศาสนาจารย์/นักวิชาการศาสนา/เจ้าหน้าที่สำนักงานพระพุทธศาสนา/เจ้าหน้าที่กรมการศาสนา/เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการสังกัดสำนักงานวัฒนธรรม • นักวิชาการด้านพุทธศาสตร์/บุคลากรทางการศึกษา/วิทยากร/พัฒนากร/นักพัฒนาสังคม/นักพัฒนาชนบท/พนักงานพัฒนาทรัพยากรบุคคล/นักวิชาการกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ • ข้าราชการ/พนักงานของรัฐ/องค์การมหาชนที่เกี่ยวข้อง • ข้าราชการ/พนักงานของรัฐ/องค์การมหาชนที่เกี่ยวข้อง • ผู้นำในการพัฒนาชุมชน และอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง


ข้อมูลหลักสูตร

คุณสมบัติ/เงื่อนไขการรับ

คะแนน GPAX ต่ำสุด 2.00

รับสมัครนักเรียนที่กำลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือสำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า 

รายละเอียดการรับ

นำเสนอรายละเอียดแฟ้มสะสมผลงาน(Portfolio) เพื่อใช้ในการยื่นสมัคร - หน้าปก - ประวัติส่วนตัว หรือ แนะนำตัว - ประวัติการศึกษา - รางวัล/เกียรติบัตร-ผลงาน/สิ่งประดิษฐ์ หรือการแข่งขันทางวิชาการในสาขาที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด ภูมิภาค หรือผลงานที่รับการยอมรับในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง(ถ้ามี) - หลักฐานการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่แสดงถึงภาวการณ์เป็นผู้นำ หรือกิจกรรมด้านพัฒนาคุณธรรม จริงธรรม หรือจิตสาธารณะ (ถ้ามี) - เรียงความ หัวข้อ เหตุผลที่เลือกเรียนในหลักสูตร - เรียนความ ความชื่อสัตย์สุจริตมีความสำหรับในชีวิตอย่างไร - เรียงความ หัวข้อ ความคาดหวังของนักเรียนจากการเรียนในหลักสูตรที่สมัครเข้าเรียน เพื่อการรับสัมภาษณ์


ข้อมูลหลักสูตร

ข้อมูลหลักสูตร

  1. ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา
    ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Buddhist Studies for Development
  1. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
    ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
    ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
    ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (Buddhist Studies for Development)
    ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Buddhist Studies for Development)

  2. วิชาเอกเดี่ยว
    พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา

  3. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
    123 หน่วยกิต

  4. รูปแบบของหลักสูตร 
    5.1 รูปแบบ
            หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
    5.2 ประเภทของหลักสูตร
           หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
    5.2 ภาษาที่ใช้
           หลักสูตรภาษาไทย
    5.3 การรับเข้าศึกษา
           นักศึกษาไทย และนักศึกษาต่างชาติที่มีทักษะในการใช้ภาษาไทยได้
    5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
           เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง
    5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
          ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว