มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร จังหวัดยโสธร

การรับสมัคร รับตรง ภาคพิเศษ (เรียนวันเสาร์-อาทิตย์)

หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์

สิ้นสุดการรับ

คุณสมบัติ/เงื่อนไขการรับ

คะแนน GPAX ต่ำสุด 2.00

1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า และ 2. ไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ (1) ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา (2) ไม่เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ (3) ไม่เป็นผู้วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ และ 3. เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง


รายละเอียดการรับ

รายละเอียดของหลักสูตร หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร คณะสังคมศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อหลักสูตร รหัสหลักสูตร : 25631864000425 ภาษาไทย : หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Political Science Program in Political Science 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ภาษาไทย ชื่อเต็ม : รัฐศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) ชื่อย่อ : ร.บ. (รัฐศาสตร์) ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Bachelor of Political Science (Political Science) ชื่อย่อ : B.Pol.Sc. (Political Science) 3. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 134 หน่วยกิต 4. รูปแบบของหลักสูตร 4.1 รูปแบบ  หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ หลักสูตร 4 ปี 4.2 ภาษาที่ใช้  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย 4.3 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา  ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 5. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร  หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567 กำหนดเปิดสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2567 6. สถานที่จัดการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร เลขที่ 174 หมู่ที่ 3 ถนนวารีราชเดช ตำบลในเมือง อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร รหัสไปรษณีย์ 35000 หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติสอดคล้องกับปรัชญาของมหาวิทยาลัยว่าด้วย “ความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนา” อีกทั้งเสริมสร้างทักษะความรู้ ความสามารถทางรัฐศาสตร์แบบบูรณาการให้สอดคล้องกับศาสตร์พระราชาและยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 มาตรฐานการอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวิจัยพื้นฐาน การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และการบริหารจัดการ รวมทั้งสนับสนุนให้ฝึกภาคสนามในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองคณะสงฆ์ และหน่วยงานอื่น ๆ หรือการทำวิทยานิพนธ์ในระดับปริญญาตรี รู้จักวิธีแสวงหาความรู้ตามระเบียบวิธีทางวิชาการ และสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ เพื่อให้บัณฑิตสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้เรียนมาให้เป็นประโยชน์ทั้งต่อตนเองและสังคม บัณฑิตสามารถประกอบอาชีพ ด้านการปกครอง บริหาร นโยบายและแผนได้ทุกหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรอิสระ บริษัทเอกชน และอื่น ๆ ดังนี้ 1. องค์กรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ ปลัดอำเภอ ตำรวจ ทหาร อนุศาสนาจารย์ บุคลากรทางการศึกษาของรัฐ นักวิจัย นักการทูต นักบริหารทรัพยากรมนุษย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักการเมืองท้องถิ่น นักการเมืองระดับชาติ เจ้าหน้าที่ศาลปกครอง 2. องค์การภาคเอกชน ได้แก่ พนักงานธนาคาร พนักงานสถาบันการเงิน เจ้าหน้าที่บริหารงานบุคคล เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นักสื่อสารมวลชน 3. องค์กรอิสระ ได้แก่ พนักงานในหน่วยงานขององค์กรอิสระ องค์การมหาชน องค์การไม่แสวงหากำไร 4. องค์การระหว่างประเทศ ได้แก่ เจ้าหน้า UN, IMF, UNDP, สำนักงานเลขาธิการ ASEAN 5. องค์การคณะสงฆ์ ได้แก่ เจ้าหน้าที่สำนักงานพระพุทธศาสนาประจำจังหวัด ศาสนพิธีกร พระธรรมทูต พระนักเผยแผ่ พระนักพัฒนา


ข้อมูลหลักสูตร

รายละเอียดของหลักสูตร

หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567)

 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา     มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร

คณะสังคมศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร์

 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

 1. รหัสและชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร     : 25631864000425

ภาษาไทย        : หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์

  (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567)

ภาษาอังกฤษ     : Bachelor of Political Science Program in Political Science

 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ภาษาไทย        ชื่อเต็ม  : รัฐศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์)

                              ชื่อย่อ   : ร.บ. (รัฐศาสตร์)

ภาษาอังกฤษ     ชื่อเต็ม  : Bachelor of Political Science (Political Science)

                              ชื่อย่อ   : B.Pol.Sc. (Political Science)

3. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

134 หน่วยกิต

 4. รูปแบบของหลักสูตร

4.1 รูปแบบ

þ หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ หลักสูตร 4 ปี

4.2 ภาษาที่ใช้

þ หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย

4.3 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา

þ ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

5. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร

þ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567

กำหนดเปิดสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2567

6. สถานที่จัดการเรียนการสอน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร

เลขที่ 174 หมู่ที่ 3 ถนนวารีราชเดช  ตำบลในเมือง อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร รหัสไปรษณีย์ 35000

หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติสอดคล้องกับปรัชญาของมหาวิทยาลัยว่าด้วย “ความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนา” อีกทั้งเสริมสร้างทักษะความรู้ ความสามารถทางรัฐศาสตร์แบบบูรณาการให้สอดคล้องกับศาสตร์พระราชาและยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 มาตรฐานการอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวิจัยพื้นฐาน การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และการบริหารจัดการ รวมทั้งสนับสนุนให้ฝึกภาคสนามในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองคณะสงฆ์ และหน่วยงานอื่น ๆ หรือการทำวิทยานิพนธ์ในระดับปริญญาตรี รู้จักวิธีแสวงหาความรู้ตามระเบียบวิธีทางวิชาการ และสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ เพื่อให้บัณฑิตสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้เรียนมาให้เป็นประโยชน์ทั้งต่อตนเองและสังคม

บัณฑิตสามารถประกอบอาชีพ ด้านการปกครอง บริหาร นโยบายและแผนได้ทุกหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรอิสระ บริษัทเอกชน และอื่น ๆ ดังนี้

1. องค์กรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ ปลัดอำเภอ ตำรวจ ทหาร อนุศาสนาจารย์ บุคลากรทางการศึกษาของรัฐ นักวิจัย นักการทูต นักบริหารทรัพยากรมนุษย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักการเมืองท้องถิ่น นักการเมืองระดับชาติ เจ้าหน้าที่ศาลปกครอง

2. องค์การภาคเอกชน ได้แก่ พนักงานธนาคาร พนักงานสถาบันการเงิน เจ้าหน้าที่บริหารงานบุคคล เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นักสื่อสารมวลชน

3. องค์กรอิสระ ได้แก่ พนักงานในหน่วยงานขององค์กรอิสระ องค์การมหาชน องค์การไม่แสวงหากำไร

4. องค์การระหว่างประเทศ ได้แก่ เจ้าหน้า UN, IMF, UNDP, สำนักงานเลขาธิการ ASEAN

5. องค์การคณะสงฆ์ ได้แก่ เจ้าหน้าที่สำนักงานพระพุทธศาสนาประจำจังหวัด ศาสนพิธีกร พระธรรมทูต พระนักเผยแผ่ พระนักพัฒนา