คะแนน GPAX ต่ำสุด 2.00
สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า (ปวช. กศน. ป.ธ.5) 2. ผู้สำเร็จระดับปริญญาตรีทุกสาขาวิชา (สำหรับผู้ต้องการปริญญาใบที่ 2)
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะศาสนาและปรัชญา/ภาควิชาปรัชญา หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อหลักสูตร รหัสหลักสูตร : 25491861105489 ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Philosophy, Religions and cultures 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม) ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (ปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม) ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (Philosophy, Religions and cultures) ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Philosophy, Religions and cultures) 3. วิชาเอก ปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม
รายละเอียดของหลักสูตร
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567)
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
คณะศาสนาและปรัชญา ภาควิชาปรัชญา
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ภาษาไทย
: ศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Philosophy, Religion, and Culture
ภาษาไทย ชื่อเต็ม : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม)
ชื่อย่อ : ศศ.บ. (ปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม)
ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Bachelor of
Arts (Philosophy, Religion, and Culture)
ชื่อย่อ : B.A. (Philosophy, Religion, and Culture)
3.
จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
123 หน่วยกิต
4.
รูปแบบของหลักสูตร
þ หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี (ทางวิชาการ)
R หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย
R รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้
4.4
ความร่วมมือกับหน่วยงาน / สถาบันอื่น
R เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
4.5
การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
R ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
5.
สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
สถานภาพของหลักสูตร
R หลักสูตรปรับปรุง
พ.ศ. 2567
กำหนดเปิดสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2567
R ปรับปรุงมาจากหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563)
6. สถานที่จัดการเรียนการสอน
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต มุ่งผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร ให้บัณฑิตมีความรอบรู้ด้านปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม ในบริบทของสังคมไทยบนพื้นฐานพหุวัฒนธรรม สามารถวิเคราะห์ ริเริ่มสร้างสรรค์ เข้าใจสถานการณ์และปัญหาสังคมอย่างชัดเจนและรอบด้าน เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบัน
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักวิชาการ อาจารย์
ด้านปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม
2. มัคคุเทศก์
ด้านวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวเชิงพระพุทธศาสนา
3. ข้าราชการและพนักงานของรัฐในกระทรวงวัฒนธรรม
และหน่วยงานเอกชนที่เกี่ยวข้อง
4. อนุศาสนาจารย์
5. นักเขียน นักวิจารณ์
และอาชีพอิสระ