คะแนน GPAX ต่ำสุด 2.00
คุณสมบัติและวุฒิการศึกษาของผู้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักศึกษามีดังต่อไปนี้ 1. เป็นผู้ที่กำลังศึกษาหรือสำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทือบเท่า หรือเป็นผู้สอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยคขึ้นไป (สายบาลี) และมีอายุ 15 ปีขึ้นไป 2. กรณีผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า ให้ใช้ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPA>) ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 (ภาคต้น) รวม 5 ภาคเรียน ไม่ต่ำกว่า 2.00 3. กรณีผู้สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า ให้ใช้ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 รวม 6 ภาคเรียน ไม่ต่ำกว่า 2.00 4. กรณีผู้สอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยคขึ้นไป (สายบาลี) จะต้องมีหลักฐานใบประกาศนียบัตรว่าสอบไล่ได้เปรียญธรรม 3 ประโยคขึ้นไป ยื่นประกอบการสมัคร 5. มีประวัติผลงาน หรือความสามารถพิเศษ
1. รูปแบบของหลักสูตร เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี จำนวน 130 หน่วยกิต 2. ประเภทของหลักสูตร เป็นหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ 3. ภาษาที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน และเอกสาร ตำราเรียนในวิชาของหลักสูตรเป็นภาษาไทย 4. การรับเข้าศึกษาเป็นนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยได้ 5. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา - นักวิชาการด้านภาษาไทย - เจ้าหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเอกสาร เช่น เจ้าหน้าที่ธุรการ เจ้าหน้าที่สารบรรณ เจ้าหน้าที่พิสูจน์อักษร เป็นต้น - นักเขียน/นักวรรณกรรม - พิธีกร/วิทยากร - อาชีพอิสระ/บุคลากรทางการศึกษา
สมัครเรียนหลักสูตรนี้
1. รหัสและชื่อหลักสูตร
รหัสหลักสูตร : 25621861100069
ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Thai
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต
(ภาษาไทย)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ.
(ภาษาไทย)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor
of Arts (Thai)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Thai)
3. วิชาเอก
ไม่มี
4. รูปแบบของหลักสูตร
4.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี จำนวน 130 หน่วยกิต
4.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
4.3 ภาษาที่ใช้
การจัดการเรียนการสอน
และเอกสาร ตำราเรียนในวิชาของหลักสูตรเป็นภาษาไทย
4.4 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยได้
4.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
ไม่มี
4.6
การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
5.
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1.
นักวิชาการด้านภาษาไทย
2. เจ้าหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเอกสาร
เช่น เจ้าหน้าที่ธุรการ เจ้าหน้าที่สารบรรณ เจ้าหน้าที่พิสูจน์อักษร เป็นต้น
3. นักเขียน/นักวรรณกรรม
4.
พิธีกร/วิทยากร
5. อาชีพอิสระ/บุคลากรทางการศึกษา